รัฐธรรมนูญ

ให้มี คณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ เห็นด้วยหรือไม่?

คะแนนเสียงของคุณจะถูกเก็บข้อมูลแบบนิรนาม ไม่สามารถระบุผู้ลงคะแนนได้ แต่สามารถยกเลิกการลงคะแนนได้ โดยใช้ข้อมูลรหัสที่ได้รับทางอีเมล  ไม่ต้องการรับอีเมล
ลงคะแนนแล้ว 791 คน
เห็นด้วย 186ไม่เห็นด้วย 605

กมธ.ยกร่างรธน.กำหนดให้มี "คณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ" จำนวน 23 คน มีที่มา 3 ส่วน คือ หนึ่ง มาจากประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา นายกฯ ประธานศาลฎีกา และผู้บัญชาการทหารทุกเหล่าทัพ กับตำรวจ สอง มาจากผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา นายกฯ ประธานศาลฎีกา เลือกกันเอง สาม ผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน 11 คน จากมติรัฐสภา มีอำนาจพิเศษสั่งการ ระงับยับยั้ง หรือกระทำการใดๆ ได้ ไม่ว่าการกระทำนั้นจะมีผลบังคับในทางนิติบัญญัติหรือในทางบริหาร ฝ่ายสนับสนุนมองนี้จะช่วยแก้ปัญหามาเกิดวิกฤตรัฐบาล ฝ่ายคัดค้านการแก้วิกฤตต้องให้ประชาชนตัดสิน

เครือข่ายประชาชนประกาศ “ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ”

24 ก.ค. 2559 ที่หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการจัดงาน "ใส่ใจประชามติรัฐธรรมนูญ กับอนาคตประชาชน" ตัวแทนเครือข่ายเพื่อรัฐสวัสดิการ-สมัชชคนจน-ตัวแทนเครือข่ายสลัม 4 ภาค-เกษตรกรรมทางเลือก และการศึกษาทางเลือก ประกาศ “ไม่รับ” ร่างรัฐธรรมนูญ นำเสนอมุมมองปัญหาอันหลากหลายของแต่ละกลุ่ม พุ่งตรงปมปัญหาในร่างมีชัย

นับถอยหลังประชามติ รธน.: ข้อสังเกตว่าด้วยเรื่อง คสช. “สืบทอดอำนาจ” ?

หนึ่งในประเด็นที่ถูกยกมาถกเถียง ตั้งแต่ร่างรัฐธรรมนูญฯ ยังอยู่ระหว่างการจัดทำโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ก็คือเรื่องการ “สืบทอดอำนาจ” ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คำถามก็คือ เนื้อหาส่วนไหนของร่างรัฐธรรมนูญฯ ที่จะเป็นการสืบทอดอำนาจ คสช. อย่างที่บางฝ่ายเข้าใจ

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ "สิทธิเสรีภาพ" เขียนใหม่เป็น "หน้าที่ของรัฐ"

 “เรื่องสิทธิเสรีภาพแทนที่จะเขียนลอยๆ ว่ามีสิทธิอะไรให้ไปเรียกร้องเอาเอง คราวนี้เขียนใหม่ให้เป็นหน้าที่ของรัฐ หน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐไปทำให้สิทธินั้นเกิดขึ้น อะไรที่คิดว่าทำให้เกิดการพัฒนาในทางที่ดีขึ้นถ้าประชาชนไปใช้สิทธินั้น เราก็เขียนให้เป็นหน้าที่ของรัฐ” มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) 

เครือข่ายประชาชนประกาศ “ไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ”

ตัวแทนเครือข่ายสมัชชาคนจน-สลัมสี่ภาค-กลุ่มรัฐสวัสดิการ-เหมืองแร่-เกษตรทางเลือก-เครือข่ายพลเมืองเน็ต-เอฟทีเอวอทช์-เครือข่ายกระเหรี่ยง-ประชาชนเจ้าของแร่-การศึกษาทางเลือก ประกาศ “ไม่รับ” ร่างรัฐธรรมนูญ นำเสนอมุมมองปัญหาอันหลากหลายของแต่ละกลุ่ม พุ่งตรงปมปัญหาในร่างมีชัย

บูรพา เล็กล้วนงาม: ประมวลเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญ 2559 ก่อนลงประชามติ

บูรพา เล็กล้วนงาม อดีตนักข่าวผู้คร่ำหวอดในวงการการเมือง ประมวลเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญฉบับมีชัย ก่อนนำไปลงประชามติ สรุปทั้งฉบับมาให้เบาๆ ใน 5 หน้า สำหรับคนที่ไม่อยากอ่านเต็มทุกมาตรา

 

ผู้เข้ารอบสุดท้าย PetchaKucha "รัฐธรรมนูญ" ทั้ง 11

ประกาศผู้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายกิจกรรม "PechaKucha รัฐธรรมนูญ" ทั้ง 11 คน/ทีม พร้อมคอนเซปต์ แรงบันดาลใจในการนำเสนอคร่าวๆ ก่อนนำเสนอผลงานในวันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559

ผลโหวต “รัฐธรรมนูญยังจำเป็นหรือไม่?” 89% โหวตจำเป็น แต่ต้องทำให้ศักดิ์สิทธิ์

เว็บไซต์ประชามติ (prachamati.org) เปิดให้ผู้ใช้เฟซบุ๊กโหวตว่า “รัฐธรรมนูญยังจำเป็นหรือไม่?” ผลปรากฏว่า จากผู้ร่วมโหวตทั้งหมด 3,234 คน มีคนเห็นว่ารัฐธรรมนูญยังจำเป็นอยู่ 2,881 คน หรือ คิดเป็น 89% ของผู้โหวตทั้งหมด และมีผู้ที่เห็นว่าไม่จำเป็น 353 คน หรือ 11% จากทั้งหมด

ll 20 เรื่องที่คุณต้องอึ้ง! เมื่อพูดถึงรัฐธรรมนูญ ll

เว็บไซต์ประชามติ ขอนำสาระความรู้คัดสรรที่ทีมเรามั่นใจว่าหลายคนอาจไม่เคยรู้มาก่อน ประเดิมด้วยสิบข้อใน 'ภาค 1 รัฐธรรมนูญต่างประเทศ' ซึ่งจะนำทุกท่านไปสำรวจความเป็นไปของรัฐธรรมนูญในอารยประเทศอื่นว่ามีความดีงามหรือแตกต่างกันอย่างไร ถ้าพร้อมแล้ว ไปดูกันว่าในสิบข้อแรกนั้นคุณรู้มาก่อนแล้วกี่ข้อ

Pages

Subscribe to RSS - รัฐธรรมนูญ