ข่าว

ย้อนกลับ 10 ปี ที่ผ่านมา จะพบว่าจำนวนกำลังคนภาครัฐเพิ่มขึ้นเกือบ 50% และงบบุคลากรภาครัฐเองเพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่า ถ้าหากรวมเอางบสวัสดิการข้าราชการอื่นๆ จะคิดเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของรายได้ของรัฐบาล แต่งบบุคลากรที่เพิ่มขึ้นอย่างมากกลับส่วนทางกลับผลงาน เพราะทั้งประสิทธิภาพและความโปร่งใสของภาครัฐแย่ นักวิเคราะห์จากสถาบันอนาคตไทยศึกษา ชี้ว่าทั้งหมดนี้เป็นการเน้นว่า การปฏิรูประบบราชการต้องเป็นวาระที่ควรทำเป็นอันดับแรก และต้องทำโดยเร่งด่วน
แม้รัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ไม่ได้กำหนดไว้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับล่าสุดปี 2558 ต้องทำประชามติ  แต่ก็มีเสียงเรียกร้องจากหลายฝ่ายให้ทำประชามติ ขณะเดียวกันเสียงของฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยกับการทำประชามติก็มีเช่นกัน บทความนี้จึงความเห็นที่หลากหลายของ คสช. กมธ.ยกร่างฯ นักการเมือง รวมถึง กกต. ต่อประเด็นนี้
วิษณุ เครืองาม เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญดั่งแม่น้ำ 5 สาย ซึ่งขณะนี้รัฐธรรมนูญให้กำเนิดแม่น้ำไปแล้ว 4 สาย  แต่ยังเหลือสายสุดท้ายคือ "กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ" โดยบทความชิ้นนี้จะเล่าถึงที่มาของกมธ.ยกร่างรัฐธรรมนูญ และขั้นตอนการร่างรัฐธรรมนูญ
 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ ได้เผยแนวคิดเกี่ยวการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ผ่านบทความ "ระบอบการเมือง นักการเมือง และสถาบันการเมือง" ในจุลสารรัฐธรรมนูญฉบับปฏิรูป ฉบับที่ 2 มีเนื้อหาที่น่าสนใจเช่น การสร้างสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ที่มาวส.ว.เน้นการสรรหาหลากหลาย การเพิ่มบทบาทฝ่ายค้านในสภา และการเปิดช่องให้มีนายกฯ คนกลาง
ความคืบหน้าร่างรัฐธรรมนูญรายมาตรา ถึงหมวดคณะรัฐมนตรี มาตรา 173 ตัดทิ้งข้อความ "นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร" เปิดช่องนายกรัฐมนตรีคนนอก เทียบ รธน.ฉบับ รสช. และ รธน.ยุคเกรียงศักดิ์-เปรม ขณะที่เมื่อฟอร์มทีม ครม.ได้แล้ว นายกรัฐมนตรีต้องส่งรายชื่อให้วุฒิสภาสอบประวัติ - ก่อนเสนอชื่อ ครม. เพื่อกราบบังคมทูล
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ตั้งข้อสังเกตเพื่อทำความเข้าใร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเด็น คือ 1.นายกรัฐมนตรี 2. สภาผู้แทนราษฎร 3. วุฒิสภา 4. คณะกรรมการ สภา สมัชชา ที่จัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ และ 5. เรื่องโดยรวม
ดาวน์โหลดร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและสรุปเจตนารมณ์รายมาตราของร่างรัฐธรรมนูญฯ จากคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญฯ (อัพเดตเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2558) ได้ดังนี้ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 

Pages